
ถอดประสบการณ์จากจีน ตำรับสมุนไพรจีนป้องกันโควิด-19
จากข่าวที่โด่งดังเมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา ว่าประเทศจีนได้ก้าวผ่านสถานการณ์ระบาดหนักของโรคโควิด-19 มาแล้ว และหนึ่งในวิธีการรับมือก็คือ การใช้ตำรับสมุนไพรจีน เข้ามาช่วยดูแลรักษาผู้ป่วยนั่นเอง
จากข่าวที่โด่งดังเมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา ว่าประเทศจีนได้ก้าวผ่านสถานการณ์ระบาดหนักของโรคโควิด-19 มาแล้ว และหนึ่งในวิธีการรับมือก็คือ การใช้ตำรับสมุนไพรจีน เข้ามาช่วยดูแลรักษาผู้ป่วยนั่นเอง
เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจีนเปิดเผยว่า ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19) ในจีนราว 5 หมื่นราย ที่ฟื้นตัวและได้รับการปล่อยตัวจากโรงพยาบาล ส่วนใหญ่ได้รับการรักษาด้วยยาแผนจีน (TCM)
“เวลาอยู่ในห้องปรับอากาศ ดิฉันต้องใส่เสื้อหนาๆ ทีคนอื่นไม่เห็นจะเป็นอย่างดิฉันเลย เวลาเพื่อนๆ มาจับมือจะบอกว่ามือเย็นจังเลย”“ผมรู้สึกว่าอ้วนขึ้นมาก ทั้งๆ ที่กินแต่ละมื้อก็ไม่มาก กินชาเขียวลดน้ำหนัก
เปี่ยนเชวียะ เป็นแพทย์จีนที่มีชื่อเสียง ได้ชื่อว่าเป็นผู้วางรากฐานหลักการตรวจจับชีพจรแบบแพทย์จีน ครั้งหนึ่ง เว่ยเวินหวาง (魏文王) กษัตริย์แห่งรัฐฉินในสมัยชุ่นชิวจ้านกว่อ ( 春秋战国the Warring States period (475-221 BC) ได้สอบถามเปี่ยนเชวียะในข้อข้องใจบางประการ
อาการปวด (ปี้เจิ้ง) เกิดจากลมชื้นความเย็นหรือร้อน ทำให้เกิดการปิดกั้น ดังนั้นการใช้สมุนไพรที่มีสรรพคุณดังต่อไปนี้ จะสามารถช่วยขับลมชื้นที่อยู่ในกล้ามเนื้อ เส้นลมปราณ เอ็นกระดูกและข้อต่อกระดูก
แม้ว่าในทางทฤษฎีแพทย์จีนจะกล่าวว่า เลือดและจิงสามารถแปรเปลี่ยนซึ่งกันและกันได้ แต่สารจิงถือว่ามีค่ามากกว่าเลือด เพราะมันมีความหมายถึงระบบฮอร์โมน ระดับการปรับสมดุลของร่างกาย ระบบพลังพื้นฐานของร่างกาย ซึ่งถ้าสูญเสียบ่อยๆ จะทำให้แบตเตอรี่สำรองพลังลดลง เป็นแบตเตอรี่เสื่อมสภาพ
สรรพคุณในทางการแพทย์จีนเกี่ยวกับ “ชะเอม” (甘草) กันเฉ่า ได้กล่าวว่า ชะเอมมีรสหวาน ฤทธิ์กลางๆ (ไม่ร้อน – ไม่เย็น) เข้าเส้นลมปราณ หัวใจ, ปอด, ม้าม และกระเพาะอาหาร
ตำรับยาจีนหลายตำรับในท้องตลาดที่ได้ชื่อว่าเป็นยาจีนที่แพงระดับมหากาฬ และนับวันจะแพงมากขึ้น เพราะเชื่อว่าช่วยรักษาแผลอักเสบ, ทำลายพิษ และรักษามะเร็งได้ ยาตำรับนี้มีตัวยาหลักที่หายากและราคาแพงคือ โคโรค (牛黄) ลองมารู้จักตัวยานี้กันเถอะ
คนที่เป็นความดันโลหิตสูงมีพื้นฐานความพร่องของพลังตับและไต คนปกติสุขภาพดีสามารถกระตุ้นพลังไตโดยไม่จำเป็นต้องรับประทานอาหารรสจืดหรือปรุงรสแต่พอควรได้ แต่คนที่อวัยวะภายในเสื่อมลง (ตัวอย่างเช่น คนที่เป็นโรคเรื้อรัง คนสูงอายุ) จะเบื่ออาหาร การรับรสชาติลดน้อยลง จึงต้องการอาหารรสจัด – รสเข้มข้นมากระตุ้นร่างกาย